[ตัวอย่าง]
Study domain
Children with severe asthma exacerbation in Hat Yai hospital from 2015-2017
(retrospective observational cohort design)
Specific aim
To compare the length of hospital stay (reported as difference in mean LOS) between children with severe asthma exacerbation who were treated with continuous nebulization and children who were treated with intermittent nebulization.
ประกอบไปด้วย 6 องค์ประกอบ
จะ focus ไปที่ใคร ขึ้นอยู่กับ Object design
นำไปสู่ Inclusion / Exclusion criteria
จะไปเอา "คน/ข้อมูลเวชระเบียน" จากที่ไหน ข้อมูลรูปแบบไหน มาเป็น "ฐานข้อมูล" ของงานวิจัย
มี 3 องค์ประกอบ
Membership
Manipulation
Calendar time
2.2.1 Membership conditions
Cohort (มาจาก รากศัพท์ "กองพันทหาร") : กลุ่มคนที่มี characterisitc เหมือนๆกัน
sample ณ จุดเริ่มต้น(at time 0) จะต้องไม่มี event และ ทุกคนมีโอกาสเกิด event ได้ เมื่อติดตามต่อไป
Keyword : "Time" , Follow up to observe event
แม้ว่าเวลาจะสั้นๆ เช่น หญิงตั้งครรภ์ ที่ตกเลือดหลังคลอด "เวลาแค่ตอนคลอด" ก็นับเป็น cohort
Case series ก็นับเป็น cohort เพราะมีเวลา มาเกี่ยวข้อง
Cross-section
เช่น การ review เวชระเบียนหาปัจจัยเสี่ยง "แต่ไม่ได้ตามไปในช่วงเวลาอื่น"
Keyword : Risk factor at event , "no Time" เช่น ค่า spec/senes ของ lab
Case-control
คล้ายๆ Cohort แต่เหมาะกว่าในกรณีที่เป็น rare disease
แต่จะเอา "sample ปลายทาง" ทั้งที่เกิด Event (Case) และไม่เกิด event (control) มาวิเคราะห์
Keyword : สุ่มมาแค่บางส่วนในกลุ่ม control
2.2.2 การได้มาซึ่งข้อมูล (Manipulation of determinants)
Randomized (ทดลองแบบสุ่ม)
Non-randomized (ทดลอง ไม่สุ่ม)
ต้องเป็น Experimantal study ด้วย
Observational (สังเกต แอบดู ไม่เข้าไปแทรกแซง ทำตาม routine ปกติ) เช่น
พวกหาปัจจัยเสี่ยงต่างๆ , ผล lab เป็นต้น
2.2.3 Calendar time
Prospective : เก็บข้อมูลไปข้างหน้า
ณ วันเขียน proprosal ยังไม่มี rawdata
Retrospective : เก็บข้อมูลที่มีอยู่แล้ว ทั้งที่ต้อง review สร้าง table เอง หรือ แค่เอาข้อมูลมา
ณ วันเขียน proprosal มี rawdata แล้ว
Ambispective
มีข้อมูลบางส่วน และต้องเก็บข้อมูลต่อ
[ตัวอย่าง]
ผู้วิจัยวางแผนนำผู้ป่วยที่ได้รับการฉีดวัคซีนโคขวิด-19 มาเจาะภูมิหลังฉีดวัคซีนที่ 30, 60, 90, และ 180 วัน เพื่อหา seroconversion rate
Membership: Cohort
Manipulation: Observational
Calendar time: Prospective
No intervention was given No experimental input
ตัวแปรหรือปัจจัยที่ต้องการศึกษา
หมายเหตุ
อาจ focus ตัวเดียวหรือหลายตัว
ขึ้นอยู่กับคำถามวิจัย / ขึ้นอยู่กับ object design
ตัวแปรร่วม (covariables)
ตัวแปรกวน (confounders)
ตัวเปลี่ยนอิทธิพล (effect modifiers)
ตัวแปรที่คนอ่านวิจัยอยากรู้
ตัวแปรที่มีผลต่อผลลัพธ์การวิจัยได้
ตัวแปรผลลัพธ์
อาจมีมากกว่าหนึ่งผลลัพธ์
ค่าทางสถิติที่ใช้ในการนำเสนอผลลัพธ์ เช่น risk ratio, odds ratio
วางแผนล่วงหน้าตั้งแต่ design นำไปสู่การวางแผนวิเคราะห์