Alzheimer’s disease
พบบ่อยร้อยละ 50-70 ของภาวะสมองเสื่อมทั้งหมด โดยจะมีอาการ ค่อยเป็นค่อยไป
Cerebrovascular disease (multi-infarct dementia, stroke)
อาการจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว พร้อมทั้งมีความผิดปกติ ของระบบประสาทสมองร่วมด้วย
Normal-pressure hydrocephalus
มี gait ataxia และ incontinence ร่วมด้วย
Parkinson’s disease
เป็น subcortical dementia ที่มีความผิดปกติของการ เคลื่อนไหวเป็นอาการเด่น
Traumatic brain injury (subdural hematoma)
เป็นสาเหตุของสมองเสื่อมที่ควรระวังในผู้สูง อายุที่มีประวัติอุบัติเหตุทางศีรษะ
Delirium = อาการสับสนทางสมองอยางเฉียบพลัน มีลักษณะที่แตกตางจาก dementia คือ
อาการเป็นเร็ว แปรปรวนในแต่ละวัน
สูญเสีย attention อย่างมาก อาจมีประสาทหลอนร่วมด้วย
มักมีสาเหตุกระตุ้นชัดเจน เช่น การใช้ยา การติดเชื้อ หรือภาวะหลังผ่าตัด เป็นต้น
อาจมีอาการคล้ายความจําเสื่อมได้แต่เป็น ผลมาจากอารมณ์ที่ ซึมเศร้า หดหู่ ไม่มีกะจิตกะใจที่จะทําอะไร
การตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมลดลง เฉื่อยชา จนในที่สุดอาจคลายภาวะสมองเสื่อมได้
อย่างไรก็ตามบางครั้งอาจพบ delirium และ depression รวมกับ dementia ได้
เช่น hypothyroidism, hyperthyroidism, hypercalcemia, hypoglycemia
เช่น syphilis, HIV infection
เช่น thiamine, niacin, vitamin B 12
เช่น systemic lupus erythematosus
เช่น Uremia : hepatic uremia , renal uremia
Dementia ต้องแยกจากโรคอื่นๆที่มีอาการคล้ายๆกัน
จำง่ายๆว่า DEMENTIA เรียกกลุ่มอาการที่แก้ไขได้เหล่านี้ว่า "Potentially Reversible dementia"
ประวัติ
มีการถดถอยของ Cognition
มีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน และการเข้าสังคม
ไม่มีภาวะ Delirium , Psychi
ตรวจร่างกาย ไม่มีพบสาเหตุอื่นๆ
Investigation
lab CBC, BUN, Cr, Elyte, LFT, TFT, VDRL : WNL
CT brain / MTR brain : WBL
= การรับรู้ การทำงานของสมองทุกส่วน เพื่อให้เกิดการกระทำ มี 6 องค์ประกอบ
ความสามารถด้านการรับรู้ก่อมิติสัมพันธ์ (visuoconstructional-perceptual ability )
ประกอบด้วย
การรับรู้จากการมองเห็น (visual perception)
การทำงานประสานของมือและสายตา (visual-construction)
การรับรู้การเคลื่อนไหว (perceptual-motor)
และการวางแผนการเคลื่อนไหว (praxis)
ถ้าเสีย : มีปัญหาการดูทิศ , กะระยะขับรถ , ทำท่าทางตามผู้ตรวจไม่ได้
การทดสอบ
ให้ขีดแบ่งครึ่งเส้น จับรู่ใบหน้าคนเดียวกัน
วาดรูปตามที่เห็น
ทำท่าทางตามที่บอก เช่น หวีผม แปรงฟัน
“เคยรู้สึกว่าเดินแล้วไม่มั่นคง หรือต้องมองเท้าตลอดเวลาไหมครับ/คะ?”
Language คือ การใช้ภาษา ตั้งแต่ การพูด การฟัง การเรียกชื่อ การใช้ไวยากรณ์ และความเข้าใจภาษา
ถ้าเสีย : นึกคำไม่ออก เรียกสิ่งของว่า อันนั้น พูดคำเดินซ้ำๆ
การทดสอบ
ให้เรียกชื่อสิ่งของในภาพ บอกชื่อสัตว์
ให้ชี้ไปที่สิ่งของในรูปภาพ
“ช่วงนี้เคยรู้สึกว่าพูดไม่ค่อยคล่อง พูดผิดบ่อย หรือหาคำพูดไม่เจอบ้างไหมครับ/คะ?”
“เวลาเขียนหรืออ่านข้อความ เคยรู้สึกว่าสับสนหรือเข้าใจยากไหมครับ/คะ?”
Executive Function คือ ความสามารถด้านบริหารจัดการ เช่น การวางแผน, ความจำใช้งาน, การใส่ใจ, การแก้ปัญหา
ถ้าเสีย : สูญเสียความฉลาด
“เคยมีปัญหาเรื่องจัดการเวลา การคิดแก้ปัญหา หรือทำตามลำดับขั้นตอนไหมครับ/คะ?”
การทดสอบ
นับเลขถอยหลัง
บอกสีหมึกของคำแทนที่จะอ่านคำ
เรียงวัตถุตามขนาด แล้วเปลี่ยนมาเรียงตามสี
Complex attention คือ การมีสมาธิ
ถ้าเสีย : สูญเสียความจดจ่อ เช่น ทำงานไม่ได้ ถ้ามีเสียงโทรทัศน์
“เวลาอ่านหนังสือหรือดูโทรทัศน์ คุณสามารถจดจ่อได้ตามปกติไหมครับ/คะ?”
การทดสอบ
ลบเลขถอยหลัง นับวัน/เดือนถอยหลัง
Memory and Learning คือ ความจำและการเรียนรู้
ถ้าเสีย : สูญเสียความสามารถในการเรียนรู้ สูญเสียความจำ
“ช่วงหลังมานี้คุณลืมสิ่งของบ่อยขึ้นไหม เช่น กุญแจ โทรศัพท์ หรือไม่จำว่านัดใครไว้?”
การทดสอบ
จำเรื่องสั้น จำรายการอาหาร
Social Cognition (ความสามารถด้านสังคม)
การเข้าใจอารมณ์ผู้อื่น การตอบสนองทางสังคมอย่างเหมาะสม
ปัญหา : ไม่เข้าใจมารยาท/อารมณ์ผู้อื่น ตอบสนองไม่เหมาะสมในสังคม ไม่สนใจวัฒนาธรรม ไม่ยับยั้งชั่งใจ ไม่ทราบอารมณ์ของคู่สนทนา ไม่ทราบว่าคู่สนทนารู้สึกอย่างไร
ตัวอย่างการทดสอบ
เช่น ให้ แยกแยะอารมณ์ ของคนในรูปภาพ บอกความคิด หรือความต้องการของตัวละครในเรื่อง
“คุณเคยรู้สึกว่าไม่เข้าใจอารมณ์หรือเจตนาของคนรอบข้างไหมครับ/คะ?”
History Taking
CBC
Renal function test (BUN , Creatinine)
Electrolytes
Thyroid function test (FT3, FT4 ,TSH)
LFT
+/- Vit B 12 level
(กรณี กินมังสวิรัติ , Gastrectomy , Autoimmune Vitiligo Thyroid disease)
+/- VDRL (กรณีมีความเสี่ยง)
+/- Anti-HIV (กรณีมีความเสี่ยง)
cognition-oriented
1.1 Cognitive training: reality orientation
ใช้การพูดคุยเหตุการณ์ประจำวัน หรือให้ข้อมูลในเรื่อง
เดียวกันในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ เกิดการรับรู้ที่ถูกต้อง
เช่นจาก หนังสือพิมพ์ TV
Cognitive training : memory training
สำหรับผู้ป่วยที่ความจำยังใช้ได้
ฝึกจำหน้าคน สิ่งของ รูปภาพ
เล่นเกมทายสิ่งของ
ฟังเพลง และทายข้อมูลเกี่ยวกับเพลง
สวดมนต์
1.3 Cognitive training: skill training
วาดภาพ
ปั้นดำน้ำมัน
เต้นรำ
แต่งตัว
ทำอาหาร
Cognitive training:
computerized cognitive training
เช่น ใช้โปรแกรมฝึกสมาธิจดจ่อ 2 ด้านในเวลาเดียวกัน เช่น การขยับร่างกาย เพื่อควบคุมเกมส์
การรักษาที่เน้นเรื่องอารมณ์ (emotion-oriented)
2.1 Reminiscence therapy
ใช้รูปภาพ หรือเพลง บุคคลที่เกี่ยวข้องกับอดีตของผู้ป่วย