Falling
Muscle Weakness
Slow Walking Speed
Self-Reported Muscle Wasting
Difficulty Performing Normal Daily Activities
การจะ Diagnosis Sarcopenia x ต้องมีการวัดมวลกลามเนื้อ (Appendicular skeletal muscle mass)
ตรวจด้วยเครื่อง
แต่ในทางปฏิบัติจะต้องคัดกรองผู้ป่วยมาก่อน ดังนี้
ใช้อันใดอันหนึ่ง
ประเมิน 5 ด้าน คือ
ความแข็งแรงของกลามเนื้อ
การช่วยเหลือในการเดิน
การลุกจากเก้าอี้หรือเตียงนอน
การขึ้นบันได
การพลักตกหกลม
รวมคะแนนแต่ละหัวขอเป็นคะแนน
SARC-F >= 4 ถือว่าสงสัยภาวะมวลกลามเนื้อน้อย
คือ แบบสอบถาม SARC-F + เส้นรอบวงน่อง (SARC-F and calf circumference)
โดยประเมิน 6 หัวข้อ คือ ประเมิน 5 หัวขอตามแบบสอบถาม SARC-F และ เพิ่มหัวข้อที่ 6 คือเส้นรอบวงน่อง
โดยรวมคะแนนแต่ละหัวข้อเป็นคะแนน SARC-CalF
SARC-CalF >= 11 ถือว่าสงสัยภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย
ตรวจด้วยเครื่อง Dynamometer โดยให้อาสาสมัครนั่งและใช้มือข้างที่ถนัดบีบ โดยงอศอก 90 องศา ทําการทดสอบ 2 ครั้ง ใช้ค่ามากที่สุด
ชาย < 28 Kg หญิง < 18 Kg = มีแรงบีบมือน้อย
โดยการตรวจ 5-time chair stand test
ให้อาสาสมัครทําการลุก-นั่งเกาอี้ ติดต่อกัน 5 ครั้ง โดยเอามือกอดอกไว้ อาสาสมัครที่ใช้เวลามากกว่า 12 วินาที ถือว่ามีสมรรถภาพทางกายต่ํา
การวัดมวลกลามเนื้อ (Appendicular skeletal muscle mass)
ตรวจด้วยเครื่อง
คำนวณจาก มวลกล้ามเนื้อ แขนขา (กิโลกรัม) หารด้วย ส่วนสูง(เมตร) ยกกำลังสอง )
ค่าผิดปกติ คือ ผู้ชาย < 7 / ผู้หญิง < 5.7
ค่าผิดปกติ คือ ผู้ชาย < 7 / ผู้หญิง < 5.4
ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและฝึกการทรงตัว (Strengthening)
อย่างน้อย 2 วันต่อสัปดาห์ หรือ 75 นาทีต่อสัปดาห์
ฝึกความแข็งแรงของหัวใจและหลอดเลือด (Moderate - intensity aerobic)
อย่างน้อย 4-5 วันต่อสัปดาห์ หรือ 150 นาทีต่อสัปดาห์
รับประทานอาหารโปรตีนสูง
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
รับประทานโปรตีนเพียงพอ อย่างน้อย 1 - 1.5 กรัม ต่อน้ำหนักตัว
โรคไต 0.8 -1.3 กรัม ต่อน้ำหนักตัว