หลังรักษา prognosis เปลี่ยนหรือไม่ (descriptive (non-causal) component)
การเปลี่ยนแปลง prognosis เกิดจาก การรักษานั้นๆ ใช่หรือไม่ (explanatory (causal) component)
นิยมใช้เป็น RCT
Randomized
Reduce bias from selection bias (allocation bias), confounding by indication and contra-indication, baseline prognostic imbalances
Controlled
Reduce bias from natural disease progression, regression to the mean, and time dependent skill
Concurrent
Reduce bias from time, trend, period and environment effect
Trial (experiment)
Reduce bias from incomplete, missing data, recall bias, information bias, selective outcome reporting
ป้องกัน การจัดเข้ากลุ่ม แบบเลือก (allocation bias)
แบ่งการ Random เป็น 4 แบบ
1. Simple randomization
Totally random, "Need higher N"
ต้องมี N มากๆ ถ้าน้อย การสุ่มบางทีวันจะไม่ balance
ทำได้หลายวิธี เช่น
Coin tossing โยนเหรียญ
Random digit
Random table
Computer generated sequences
2. Restricted randomization
2.1 Blocked randomization
After finishing each block, the number of patients within each arm will be the same
Example: Block of 4 : (AABB) (ABAB) (ABBA) (BAAB) (BABA) (BBAA)
ข้อดี คือ ทำให้ N 2 ฝั่ง เท่ากัน
ข้อเสีย ถ้าเรารู้ว่า Block มีขนาดเท่าไหร่ และ รู้ว่าก่อนหน้าสุ่มได้อะไร ทำให้เดาได้ว่า ลำดับถัดไป/ลำดับสุดท้าย เป็นอะไร มากกว่า 50% ก็ทำให้มันไม่ random จึงต้อง blind ไว้ด้วย
2.2 Stratified randomization
เอามาแก้ปัญหาของ Block ให้ ทั้ง 2 กลุ่ม มี factor เหมือนกัน
เปิดซอง เมื่อ "เริ่ม treatment"
After randomization, all should be concealed until the moment of treatment initiation to prevent selection bias
(and performance bias in some circumstances)
Patient
Allocation physician
Attending physician
Outcome assessor
Data analysis statistician
Intention-to-treat analysis (ITT)
สุ่มแล้ว คนไข้ก็อยู่กลุ่มนั้นต่อไป
Per-protocol analysis
ส่มแล้ว คนไหนที่แหก protocol ก็เอาออก ไม่เอามาคำนวณ
ITT effect จะถูก dilute (มีทั้งพวกทำตาม protocol และพวกไม่ทำตาม protocol)
ถ้ามัน sig แสดงว่า ถ้าคนไข้ตั้งใจจริงๆ มันจะดีกว่านั้นอีก
ข้อมูลไม่เหมาะกับคนไข้ เหมาะกับ policy maker