แนว แกน X ต้องเป็น Test เท่านั้น
Sensitivity = คนที่เป็นโรค จะตรวจแล้วเจอ Positive เท่าไหร่ %
ชื่อเล่น True positive proportion
ถ้ามัน "Negative : เอาไว้ Rule out" (Sen - N - out )
ถ้ามัน Positive : ต้องทำ Definite ต่อ
Specificity = คนที่เป็น ไม่เป็นโรค จะตรวจแล้วเจอ Negative เท่าไหร่ %
ชื่อเล่น True Negative proportion
นิยมเอามาทำ Definite Test
ถ้ามัน "Negative : ต้องเผิื่อใจ"
ถ้ามัน "Positive : เชื่อถือได้ว่าใช่" (Spec - P - In )
False negative rate = คนที่เป็นโรค จะตรวจแล้วเจอ negative เท่าไหร่ %
Sensitivity = 1- false negative
False Positive rate = คนที่ไม่เป็นโรค จะตรวจแล้วเจอ negative เท่าไหร่ %
Specificity = 1- false positive
PPV = Test ที่ให้ผลบวก จะมีโอกาสพบโรคจริงๆเท่าไหร่ %
NPV = Test ที่ให้ผลลบ จะมีโอกาสพบไม่เป็นโรคจริงๆเท่าไหร่ %
[ตัวอย่าง]
แปรผล
คนที่มารับบริการ 1164 คน มีโอกาสเลือดออกในหัว 5% (Prevalence) ถ้ามี Diffuse headache โอกาสเลือดออกในหัว จาก 5% จะเพิ่มเป็น 13% (PPV)
[ตัวอย่าง]
แปรผล
คนที่มารับบริการ 1164 คน มีโอกาสเลือดออกในหัว 5% (Prevalence) ถ้ามี Neurological deficit โอกาสเลือดออกในหัว จาก 5% จะเพิ่มเป็น 55.6% (PPV)
มี Specificity 1103/1107 = 99.6% ใช้ Rule in ได้ เพราะ
ตารางนี้ แค่แสดงว่า ถ้าอะไรที่ Prevalence ไม่เท่ากัน จะมีผลต่อ PPV และ NPV
Prevalence ขึ้น --> PPV ขึ้น --> NPV ลด
Prevalence ลด --> PPV ลด --> NPV เพิ่ม
LR+ = probability for a positive test result for a person with the condition of interest divided by
the probability of a positive test result for a person without the condition of interest.
LR- = probability for a negative test result for a person with the condition of interest divided by
the probability of a negative test result for a person without the condition of interest.
Odds = Probability / 1- Probability
Post-test probability = Pre-test probability
Does not help rule in or rule out the disease
Useless test, Inconclusive
Post-test probability > Pre-test probability
Helps rule in the disease
Post-test probability < Pre-test probability
Helps rule out the disease
แนวคิดของออด (Odds) เป็นศัพท์มาจากการเสี่ยงโชค (gamling)
ตัวอย่างเช่น อาจจะพูดว่า ออดของม้าที่จะแข่งชนะเป็น 3 : 1 หมายถึงความน่าจะเป็นที่ม้าจะชนะ 3 ครั้งต่อการไม่ชนะ 1 ครั้ง
ข้อมูลในการศึกษาผลของการใช้ยาแอสไพริน (aspirin) ที่สามารถลดอัตราการเป็นโรคหัวใจในผู้ชาย ซึ่งผลการทดลองแบ่งออกเป็นกลุ่มทดลองที่ให้ยาแอสไพริน และกลุ่มควบคุมให้ยาหลอก (placebo) ผลของการศึกษาแสดงในตาราง 1
จากข้อมูลในตาราง 1 มีจำนวน 0.94% ของกลุ่มที่ให้ยาแอสไพริน และ 1.71% ของกลุ่มที่ให้ยาหลอกเป็นโรคหัวใจในระหว่างการศึกษา ผลของความแตกต่างระหว่างสองกลุ่มนี้คือ 0.77%
ซึ่งเราสามารถใช้ออด (odds) ในการบอกว่า กลุ่มที่เป็นโรคหัวใจมีปริมาณมากกว่ากลุ่มที่ไม่เป็นโรคหัวใจเท่าไหร่
ซึ่ง ค่าออดในกลุ่มทดลองที่ให้ยาแอสไพริน เท่ากับ จำนวนของผู้เป็นโรคหัวใจ หาร ด้วยจำนวนของผู้ไม่เป็นโรคหัวใจ ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ 104/10,933 = 0.0095125 ในกลุ่มควบคุมที่ให้ยาหลอกก็เช่นเดียว ได้ค่าออดเท่ากับ 189/10,845 = 0.0174274
ดังนั้นเมื่อเราคำนวณหาอัตราส่วนออด (odds ratio) แล้ว จะได้ค่า 0.0174274/0.0095125 = 1.83 แปลความหมายได้ว่า บุคคลในกลุ่มควบคุมไม่ได้ใช้ยาแอสไพรินมีโอกาสเป็นโรคหัวใจมากกว่ากลุ่มทดลองที่ใช้ยาแอสไพรินอยู่ 1.83 เท่า
= set of statistical processes for estimating the relationships between a dependent variable
(often called the 'outcome' or 'response' variable, or a 'label' in machine learning parlance)
and one or more independent variables (often called 'predictors', 'covariates', 'explanatory variables' or 'features').